การพิจารณาประสิทธิภาพแบบวิจัย

เกณฑ์ใน การพิจารณาประสิทธิภาพแบบวิจัย

เกณฑ์ในการพิจารณาประสิทธิภาพแบบวิจัย

มุ่งสู่คำตอบในปัญหาวิจัย ควบคุมความแปรปรวนได้ (MAX , MIN , CON)  

  •            มีความตรงภายใน (Internal validity)

  •            มีความตรงภายนอก (External validity)

ความตรงภายใน (Internal validity)

ผลการวิจัย เป็นผลอันเนื่องจากตัวแปรอิสระ/ตัวแปรทดลอง หรือตัวแปรหลัก มากกว่าตัวแปรอื่นที่ไม่ได้ศึกษา ตามเกณฑ์ใน การพิจารณาประสิทธิภาพแบบวิจัย

ตัวแปรเกินที่อาจมีผลกระทบต่อความตรงภายใน

  • History : เหตุการณ์ที่เกิดระหว่างการทดลองมีผลต่อการทดลอง
  • Maturation : กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในของผู้รับการทดลอง  
  • Testing : ปฏิกิริยาที่เกิดจากการวัดครั้งแรก
  • Instrumentation : การเปลี่ยนแปลงของเครื่องมือวัด/ผู้ทดลอง
  • statistical regression : การถดถอยทางสถิติของคนที่ได้คะแนนสูงสุด/ต่ำสุดในครั้งต่อไป
  • Selection : ความลำเอียงจากการเลือกกลุ่มตัวอย่าง  
  • Experimental Mortality : การสูญเสียตัวอย่างระหว่างทดลอง
  • Selection-maturation interaction : เป็นปฏิกิริยาร่วมกัน ระหว่างการคัดเลือก & การเติบโตของประชากร

 

การแก้ไขผลกระทบต่อความตรงภายใน

Randomization

Control extraneous variable

ความตรงภายนอก (External validity)

  • ผลการวิจัย สามารถนำไปใช้ได้ในสถานการณ์ที่เหมือนหรือคล้ายกัน และนำไปใช้ได้กว้างขวางกว่าในโลกภายนอก (Generalizability)

ตัวแปรเกินที่อาจมีผลกระทบต่อความตรงภายนอก

  • ปฏิกิริยาร่วมระหว่างความลำเอียงในการเลือก (Selection) กับการให้ตัวแปรทดลอง (Treatment)
  • ปฏิกิริยาร่วมระหว่างการทดสอบ (Testing) กับการให้ตัวแปรทดลอง
  • การใช้ตัวแปรที่ศึกษาหลายๆตัว กับตัวอย่างกลุ่มเดียวกัน
  • เป็นผลเฉพาะสภาพการณ์ทดลอง เช่น กลุ่มตัวอย่างแกล้งแสดงออก ฯลฯ

การแก้ไขผลกระทบต่อความตรงภายนอก

Randomization

Email: thesisonline99@gmail.com
ยินดีให้คำปรึกษาทุกท่านค่ะ คลิก : https://bit.ly/2WO7oAv
Facebook : https://www.facebook.com/iamthesis
Website: http://www.iamthesis.com/
ช่องทางในการติดตามความรู้จากเรา
บทความวิจัย แปลTH-EN #ปรึกษาวิทยานิพนธ์
เครื่องมือวิจัย เทคนิคสำหรับวิจัย งานวิจัย
การวิจัย วิจัย

จำนวนคนดู: 489